ผ้าบาติก เป็นคำที่ใช้เรียกผ้าชนิดหนึ่งที่มีวิธีการทำลวดลายผ้าโดยการใช้เทียนปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้สีติด และระบายสีในส่วนที่ต้องการให้สีติด "บาติก" หรือ "ปาเต๊ะ" เป็นคำในภาษาชวามาจากคำว่า "ติติ๊ก"หรือ "ติก"มีความหมายว่า เล็กน้อยหรือจุดเล็กๆ โดยใช้การหลอมเหลวของแว๊ก (WAX) หยดหรือเขียนที่เรียกว่า "การเขียนน้ำเทียน" เป็นกรรมวิธีที่จะระบายเทียนที่หลอมเหลวให้เข้าไปในเนื้อผ้า จากนั้นนำไปย้อมตามขบวนการการทำสีผ้าบาติก คือ ย้อมในส่วนที่ไม่ปิดแว๊กให้ติดสีย้อมคือแต้มหรือระบายลงไปในส่วนที่ต้องการให้สีติด เมื่อเสร็จกรรมวิธีแล้วจึงลอกเทียนออกด้วยการนำไปต้มในน้ำเดือด ดังนั้น "บาติก" จึงเป็นการตกแต่งผ้าวิธีหนึ่งที่ทำกันมากในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย รวมถึงประเทศไท ยซึ่งมีการนำเสนอลวดลายผ้าที่ออกมาจากความคิดจินตนาการของผู้ทำรวมทั้งเทคนิคในการทำที่แตกต่างกันของกลุ่มชนในแต่ละประเทศที่เป็นเอกลักษณ์แสดงถึง อารยธรรม และวัฒนธรรมที่ปรากฏอยู่ทั่วไปในสถานที่นั้น ๆ
บาติกเป็นงานฝีมือที่มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ประมาณ 2,000 กว่าปีมาแล้วส่วนแหล่งกำเนิดมาจากไหนยังไม่เป็นข้อยุติ นักวิชาการชาวยุโรปหลายคนเชื่อว่ามีในอินเดียก่อน แล้วจึงแพร่เข้าไปในอินโดนีเซีย และอีกหลายคนเชื่อว่ามาจากอียิปต์หรือเปอร์เซีย มีการค้นพบผ้าบาติกที่อียิปต์ อินเดีย และญี่ปุ่น แต่ส่วนใหญ่ก็ยังยืนแน่ชัดว่า ศัพท์เฉพาะ ขั้นตอน สี รวมทั้ง ขี้ผึ้งที่ใช้เขียนลาย เป็นของอินโดนีเซีย ไม่เคยมีในประเทศอินเดียมาก่อน ถึงจะมีการค้นพบผ้าบาติกในที่ต่างกันแต่ผ้าบาติกของอินโดนีเซียน่าจะเกิดจากประเทศอินโดนีเซียเอง เพราะซึ่งมีเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนของชาติอื่น ๆ และยังมีผู้ยืนยันระบุอีกว่า การทำผ้าโสร่งบาติกมีต้นกำเนิดมาจากอินโดนีเซียแน่นอน (นันทา, 2536)
จากการศึกษาประวัติความเป็นมาของผ้าบาติกจึงสามารถสรุปได้ว่า ผ้าบาติกมีแหล่งกำเนิดที่ระบุไม่แน่ชัดแต่พบมากในประเทศอินโดนีเซีย โดยเริ่มมาจากการทำผ้าบาติกของสตรีในวัง แล้วแพร่หลายไปสู่ประชาชนทั่วไป จากนั้นได้มีการพัฒนาเทคนิคการสืบต่อกันมาจนกระทั่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ถ้าเป็นบาติกที่เขียนด้วยมือถือว่าเป็นบาติกชั้นสูง มีราคาแพง จึงทำให้เกิดการเลียนแบบผ้าบาติกด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถทำให้เกิดเทคนิคในการทำลวดลายให้ดูคล้ายกับผ้าบาติก แต่จริง ๆ แล้วเป็นการพิมพ์แบบสกรีนและไม่เป็นที่นิยมเท่ากับผ้าบาติก ส่วนการทำผ้าบาติกของไทยนั้น นิยมทำกันเป็นงานฝีมือ หรือที่เรียกว่า บาติกเพ้นท์ที่เขียนด้วยมือ ซึ่งมีเอกลักษณ์แตกต่างกับศิลปะบาติกของชาติอื่น
20/1/53
ดาหลา : ไม้ดอกไม้ประดับ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลำต้น
ดาหลาเป็นพืชที่มีลักษณะคล้ายข่า มีลำต้นใต้ดินเรียกว่าเหง้า (rhizome) เหง้านี้ จะเป็นบริเวณที่เกิดของหน่อดอกและหน่อต้น ดาหลา 1 ต้น สามารถให้หน่อใหม่ได้ประมาณ 7 หน่อ ในเวลา 1 ปี ส่วนลำต้นเหนือดินเป็นกาบใบที่โอบซ้อนกันแน่น เช่นเดียวกับพวกกล้วย ส่วนนี้คือลำต้นเทียม (pseudostem) ลำต้นเหนือดินสูง 2-3 เมตร มีสีเขียวเข้ม
ใบ
มีรูปร่างยาวรี กลางใบกว้างแล้วค่อย ๆ เรียวไปหาปลายใบ และฐานใบ ใบไม่มีก้านใบ ผิวเกลี้ยงท้งด้านบนและด้านล่าง ใบยาว 30-80 เซ็นติเมตร กว้าง 10-15 เซนติเมตร ปลายใบ แหลมฐานใบเรียวลาดเข้าหาก้านใบ เส้นกลางใบปรากฏชัดทางด้านล่างของใบ
ดอก
ดอกดาหลาเป็นดอกช่อมีลักษณะดอกแบบ (head) ประกอบด้วยกลีบประดับ (Bracts) มี 2 ขนาด ส่วนโคนประกอบด้วยกลีบประดับขนาดใหญ่ มีความกว้างกลีบ 2-3 ซ.ม. จะมีสีแดงขลิบขาวเรียงซ้อนกันอยู่และจะบานออก ประมาณ 25-30 กลีบ และมีกลีบประดับ ขนาดเล็กอยู่ส่วนบนของช่อดอก ความกว้างกลีบประมาณ 1 ซ.ม. ซึ่งมีสีเดียวกับกลีบประดับ ขนาดใหญ่ กลีบประดับเล็กนี้จะหุบเข้าเรียงเป็นระดับมีประมาณ 300-330 กลีบ ภายในกลีบ ประดับขนาดใหญ่ที่บานออกจะมีดอกจนิงขนาดเล็กกลีบดอกสีแดง ซึ่งเป็นดอกสมบูรณ์เพศอยู่ จำนวนมาก ดอกบานเต็มที่จะมีขนาดความกว้างดอกประมาณ 14-16 เซนติเมตร ความยาวช่อ 10-15 เซนติเมตร มีก้านช่อดอกยาว 30-150 เซนติเมตร ลักษณะก้านช่อดอกแข็งตรง ดอก จะออกตลอดปีแต่จะให้ดอกดกที่สุดในช่วงฤดูร้อน คือ เดือนมีนาคม - พฤษภาคม ดอกจะ พัฒนามาจากหน่อดอกที่แทงออกมาจากเหง้าใต้ดินลักษณะของหน่อจะมีสีชมพู ที่ปลายหน่อ
พันธุ์
ปัจจุบันพันธุ์ดาหลาที่ปลูกตัดดอกมีอยู่ 2 พันธุ์ด้วยกันคือ พันธุ์สีชมพู และพันธุ์สีแดง
การขยายพันธุ์
ดาหลาสามารถขยายพันธุ์ด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
1. การแยกหน่อ
ควรแยกหน่อที่มีความเหมาะสมนำไปปลูกคือ สูงประมาณ 60-100 ซ.ม. ขึ้นไปและมีกิ่งอ่อนกึ่งแก่นประมาณ 4-5 ใบ ใช้มีตัดให้มีเหง้า และรากติดอยู่ด้วย ซึ่งหน่อชนิดนี้จะมีหน่อดอกอ่อน ๆ ติดมาด้วยประมาณ 3 หน่อ นำไปชำในถึงพลาสติก 1 เดือนเพื่อให้หน่อแข็งแรงก่อนปลูก
2. การแยกเหง้า
โดยการแยกเหง้าที่เกิดใหม่ที่โคนต้น แล้วนำไปชำในแปลงเพาะชำ วิธีนี้จะใช้เวลาประมาณ 1 ปี จึงจะเริ่มให้ดอก
3. การปักชำหน่อแก่
โดยนำไปชำในแปลงเพาะชำให้แตกหน่อใหม่แข็งแรง แล้วจึงค่อยย้ายมาปลูกลงแปลง
การเตรียมแปลงปลูกดาหลา
พื้นที่ดอน
ทำการพรวน ตากดินไว้ประมาณ 5 - 7 วัน และย่อยดินให้ละเอียดเก็บวัชพืชออกให้หมด
พื้นที่ลุ่ม
ทำการขุดยกร่องสวน มีคูน้ำลึก 1 เมตร กว้าง 1 เมตร แปลงปลูกกว้าง 2-3 เมตร ความยาวตามขนาดของพื้นที่ และมีการไถพรวนตากดินไว้ประมาณ 5-7 วัน เก็บวัชพืชออกให้หมด
การเตรียมดิน
การเตรียมดินโดยไถพรวนดิน แล้วขุดหลุมปลูก จากนั้นใส่ปุ๋ยคอกรองก้นหลุมในกรณีที่ปลูกดาหลาแบบไม่ยกร่องสวน จะทำการไถปรับดินให้สม่ำเสมอ เพิ่มปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีสูตร 20-20-20 ในอัตรา 1 : 25 แล้วขุดหลุมปลูกแบบเดียวกับการปลูกแบบยกร่องสวนนี้อาจปลูกแซมในไม้หลักเช่น ไม้ผล
ระยะปลูก
การปลูกดาหลาจะไม่มีระยะปลูกที่แน่นอน แต่จะขึ้นอยู่กับความต้องการและความสะดวกของเกษตรกรเอง โดยส่วนใหญ่แล้วเกษตรกรจะปลูกในระยะ 2 x 2 เมตร
การปลูก
โดยใช้หน่อที่มีเหง้าและรากติดมาด้วย เหง้าที่ตัดมาควรมีความยาวประมาณ 5 นิ้ว โดยสังเกตุให้หน่อนั้น ๆ มีใบติดมาประมาณ 4 คู่ใบ ปลูกลงในหลุมที่เตรียมไว้ แล้วทำการกลบดินให้สูงประมาณ 6 นิ้ว รดน้ำให้ชุ่ม อาจใช้ดินเลนจากท้องร่องพอกทับโคนต้น เพื่อรักษาความชุ่มชื้น นอกจากนี้ควรหาไม้หลักมาผูกติดกับลำต้นกันต้นโยก
การดูแลรักษาดาหลา
การให้ปุ๋ย
จะให้ปุ๋ยดาหลาประมาณ 2 - 3 เดือนต่อครั้ง ซึ่งจะใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ (16-16-16) ในอัตรา 96 กก./ไร่/ปี และให้ปุ๋ยคอกในอัตรา 15 กก./ต้น/ปี นอกจากนี้อาจใช้อินทรีย์วัสถุที่ผุพังแล้ว เช่น ใบไม้ต่าง ๆ หรือลำต้นแก่ของดาหลา, วัชพืชที่ขึ้นตามท้องร่อง มาเป็นปุ๋ยหมัก หรืออาจใช้ดินเลนจากท้องร่องพูนใส่ตามโค้นต้น ซึ่งดินแลนนี้จะมีอินทรีย์วัตถุสูง
การให้น้ำ
ดาหลาเป็นพืชที่ต้องการน้ำในปริมาณที่มากพอสมควร โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกของการปลูก ควรรดน้ำให้ชุ่ม โดยใช้แครงสาดวันละ 1 ครั้ง เมื่อต้นดาหลาตั้งตัวได้อาจเว้นระยะห่างของการให้น้ำจากวันละครั้งออกไปเป็นประมาณ 2-3 วันต่อครั้ง แต่ต้องคำนึงถึงสภาพอากาศ ถ้าเป็นฤดูร้อนควรเพิ่มการให้น้ำมากขึ้นโดยใช้ระบบการให้น้ำแบบพ่นฝอย (springkler) บนแปลงที่ไม่ยกร่อง
การป้องกันกำจัดวัชพืช
ดาหลาเป็นพืชที่มีการเจริญเติบโตเร็ว แตกหน่อได้มาก ทำให้กอแน่นใบบังแสงซึ่งกันและกัน การกำจัดวัชพืชจะต้องกระทำมากในช่วงแรกของการปลูก เมื่อดาหลาโตมาก ๆ จะทำให้แสงที่ส่องผ่านมากระทบพื้นดินน้อย วัชพืชไม่สามารถเจริญงอกงามได้ จึงไม่ต้องทำการกำจัดวัชพืชมากนัก
โรคและแมลง
ยังไม่พบโรคที่เป็นปัญหาสำคัญกับดาหลา แต่มีแมลงสำคัญดังนี้
1. หนอนเจาะลำต้น
ลักษณะการทำลาย
เข้าทำลายต้นแก่ โดยไปเจาะบริเวณลำต้น ทำให้ต้นดาหลาหยุดชะงักการเจริญเติบโต และไม่สามารถให้ออกดอกได้
การป้องกันกำจัด
ใช้ฟูราดาน 3% โรยบริเวณรอบ ๆ โค้นต้น หรืออาจใช้เซฟวิน
2. มดแดง
ลักษณะการทำลาย
กรดจากสิ่งขับถ่ายของมดแดงจะทำให้กีบดอกเกิดรอยขาวเป็นจุด ๆ
การป้องกันกำจัด
เก็บรังมดแดงออกจากต้น และใช้ย่าฆ่ามด
การเก็บเกี่ยวดาหลา
ดอกดาหลาที่มีความสมบูรณ์พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้มีอายุประมาณ 2 อาทิตย์ นับตั้งแต่เริ่มแทงหน่อดอก ตัดดอกในช่วงเช้าโดยการตัดก้านดอกให้ยาวชิดโคนต้น แล้วแช่ก้านดอกลงในถังที่มีน้ำบรรจุอยู่
เวนิสวาณิช
เวนิสวาณิช (อังกฤษ: The Merchant of Venice) เป็นบทละครของวิลเลียม เชกสเปียร์ ซึ่งเชื่อว่าแต่งขึ้นในราวปี ค.ศ. 1596-1598 จัดอยู่ในประเภทละครชวนหัว แต่ต่อมาก็ได้รับการยอมรับให้เป็นวรรณกรรมโรแมนติกในบรรดาผลงานของเช็คสเปียร์ทั้งหมด เนื่องจากมีฉากรักที่โดดเด่นมาก และความโด่งดังของตัวละคร ไชล็อก
The Merchant of Venice ได้แปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์แปลเป็นกลอนบทละครในปี พ.ศ. 2459 นอกจากนี้ยังมี เวนิสวาณิช ฉบับการ์ตูน เรียบเรียงโดย ชลลดา ชะบางบอน[1]
บทที่มีชื่อเสียงในเรื่องนี้ก็คือ
The quality of mercy is not strain'd,
It droppeth as the gentle rain from heaven
พระราชนิพนธ์แปลความว่า
อันว่าความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่
หลั่งมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน
และอีกบทหนึ่งที่มีชื่อเสียงมาก คือ
Tell me where is fancy bred,
Or in the heart, or in the head?
How begot, how nourished?
Reply, reply.
It is engender'd in the eyes,
With gazing fed; and fancy dies
In the cradle where it lies.
Let us all ring fancy's knell
I'll begin it,--Ding, dong, bell
พระราชนิพนธ์แปลความว่า
ความเอยความรัก เริ่มสมัครชั้นต้น ณ หนไหน
เริ่มเพาะเหมาะกลางหว่างหัวใจ หรือเริ่มในสมองตรองจงดี
แรกจะเกิดเป็นไฉนใครรู้บ้าง อย่าอำพรางตอบสำนวนให้ควรที่
ใครถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยงรตี ผู้ใดมีคำตอบขอบใจเอย
ตอบเอยตอบถ้อย เกิดเมื่อเห็นน้องน้อยอย่าสงสัย
ตาประสบตารักสมัครไซร้ เหมือนหนึ่งให้อาหารสำราญครัน
แต่ถ้าแม้สายใจไม่สมัคร เหมือนฆ่ารักเสียแต่เกิดย่อมอาสัญ,
ได้แต่ชวนเพื่อนยามาพร้อมกัน ร้องรำพันสงสารรักหนักหนาเอย
The Merchant of Venice ได้แปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์แปลเป็นกลอนบทละครในปี พ.ศ. 2459 นอกจากนี้ยังมี เวนิสวาณิช ฉบับการ์ตูน เรียบเรียงโดย ชลลดา ชะบางบอน[1]
บทที่มีชื่อเสียงในเรื่องนี้ก็คือ
The quality of mercy is not strain'd,
It droppeth as the gentle rain from heaven
พระราชนิพนธ์แปลความว่า
อันว่าความกรุณาปรานี จะมีใครบังคับก็หาไม่
หลั่งมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน
และอีกบทหนึ่งที่มีชื่อเสียงมาก คือ
Tell me where is fancy bred,
Or in the heart, or in the head?
How begot, how nourished?
Reply, reply.
It is engender'd in the eyes,
With gazing fed; and fancy dies
In the cradle where it lies.
Let us all ring fancy's knell
I'll begin it,--Ding, dong, bell
พระราชนิพนธ์แปลความว่า
ความเอยความรัก เริ่มสมัครชั้นต้น ณ หนไหน
เริ่มเพาะเหมาะกลางหว่างหัวใจ หรือเริ่มในสมองตรองจงดี
แรกจะเกิดเป็นไฉนใครรู้บ้าง อย่าอำพรางตอบสำนวนให้ควรที่
ใครถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยงรตี ผู้ใดมีคำตอบขอบใจเอย
ตอบเอยตอบถ้อย เกิดเมื่อเห็นน้องน้อยอย่าสงสัย
ตาประสบตารักสมัครไซร้ เหมือนหนึ่งให้อาหารสำราญครัน
แต่ถ้าแม้สายใจไม่สมัคร เหมือนฆ่ารักเสียแต่เกิดย่อมอาสัญ,
ได้แต่ชวนเพื่อนยามาพร้อมกัน ร้องรำพันสงสารรักหนักหนาเอย
19/1/53
ผลไม้.......ยาจากธรรมชาติ
วิตามิน และแร่ธาตุที่ร่างกายเราได้รับจากการกินผลไม้เข้าไปทุกว้น เปรียบเหมือนสารหล่อลื่น
ที่ทำให้เครืืองยนต์ หรือ กระบวนการต่างๆ ของร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติ
นอกจากนั้น ผลไม้ทุกชนิดยังอุดมไปด้วยเส้นใยอาหารและสารพฤกษเคมีสำคัญ
หลายชนิดที่มีคุณสมบัติในการต่อต้านสารอนุมูลอิสระ หรือ แอนติออกซิแดนท์ ( Antioxidant )
ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ อีกทั้งยังช่วยชะลอความชราได้อีกด้วย
"บ้านเราเป็นประเทศที่โชคดีทีเดียว มีผลไม้มากมายหลายชนิดให้เลือกซื้อรับประทาน
แทบทุกฤดูกาลจากทุกภูมิภาคเลยก็ว่าได้ นี่ยังไม่รวมแอ๊ปเปิ้ลเมืองจีน องุ่นแดงแคลิฟอร์เนีย
และผลไม้อิมพอร์ตทั้งหลาย
"พอเรามีตัวเลือกมากขึ้น หลายคนจึงหลงลืมผลไม้สัญชาติไทยในสวนหลังบ้านอย่าง
มะเฟือง ทับทิม มะยม มะขามป้อม ไปเสียถนัดใจ ทั้งที่ผลไม้เหล่านี้มีสรรพคุณทางยาที่
เราสามารถนำมารักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ มากมาย และหาได้ใกล้ตัว "
ผลไม้ไทย........ยาใกล้ตัว
1 มะเฟือง ( Starfruit )
นอกเหนือจากความสวยงามแปลกตาในเรื่องรูปทรงแล้ว ในด้านคุณค่าทางโภชนาการ
มะเฟื่องสุก ยังอุดมไปด้วยวิตามินซี วิตามินเอ ฟอสฟอรัส และแคลเซี่ยม ช่วยรักษาอาการ
เลือดออกตามไรฟัน เป็นยาระบายแ้ก้ท้องผูก ช่วยขับเสมหะได้
ในด้านสมุนไพร เราสามารถใช้ส่วนต่างๆ ของมะเฟืองมารักษาโรคได้ดังต่อไปนี้
ผล คั้นเอาแต่น้ำดื่ม จะช่วยบรรเทาอาการเจ็บคอ ไข้หวัด บรรเทาอาการนิ่ว
ในทางเดินปัสสาวะ ขับนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ช่วยลดอาการร้อนใน ช่วยขจัดรังแค นอกจากนั้นน้ำคั้นจากผลมะเฟื่องยังใช้ลบ
รอยเปื้อนบนมือ เสื้อผ้า และของใช้ต่างๆ ไ้ด้ดีอีกด้วย
ใบ นำมาต้มผสมกับน้ำ กินแก้ไข้ ขับปัสสาวะ ขับระดู หรือหากนำมาบดให้ละเีอียด
พอกบนผิวหนัง จะช่วยลดอาการอักเสบ ช้ำบวบ แก้ผื่นคัน กลากเกลื้อน และอีสุกอีใส
ราก มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ต้มกับน้ำ่ช่วยดับพิษร้อน แำก้อาการปวดศรีษะ
ปวดตามข้อต่างๆ ในร่างกาย ปวดแสบในกระเพาะอาหาร แก้อาการท้องร่วง
ดอก นิยมนำมาต้มน้ำดื่มเพื่อช่วยในการขับพิษและขับพยาธิ
สูตรยารักษาผิวหนังจากมะเฟือง
การรักษา ส่วนที่ใช้ วิธีใช้
แก้กลากเกลื้อน ใบและดอกมะเฟื่อง ตำใบสด ยอดอ่อน หรือดอก
อีสุกอีใส ให้ละเอียด แล้วพอกแผล
และผื่นคัน
ข้อควรระวัง
ผลมะเฟื่องมีกรดออกชาติกอยู่ค่อนข้างสูง ดังนั้น จึงไม่ควรกินในปริมาณมากเกินไป
เพราะจะทำให้เป็นฝ้าได้ อีกทั้งไม่ควรกินในขณะมีประจำเดือน เพราะ จะทำให้รู้สึกปวดท้อง
สตรีมีครรภ์ไม่ควรกินมาก เพราะจะทำให้แท้ได้
ส้มโอ ( Pomelo )
ในส้มโอมีสารเพกทิน ( Pectin ) สูง จึงมีคุณสมบัติช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด
อีกทั้งยังมีสารโมโนเทอร์ปีนที่ช่วยในการกวดจับสารก่อมะเร็ง นอกจากนั้น ส้มโอยังมีคุณสมบัติพิเศษ
อีกประการหนึ่ง คือ ช่วยขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยให้เจริญอาหารอีกด้วย
ใบ ใบสดนำมาตำให้ละเอียดแล้วย่างไฟให้อุ่น ใช้พอกบริเวณที่ปวดบวม หรือ
ปวดศรีษะได้
เปลือกผล เปลือกผลของส้มโอ มีน้ำมันหอมระเหยหลายชนิด ใช้เป็นยาขับลม
ขับเสมหะ แก้ท้องอืด แน่นหน้าอก ไอ สามารถใช้เปลือกผลตำพอกฝี และใช้จุดไฟไล่ยุงได้
หรือ หากนำเปลือกผลส้มโอมาผสมกับน้ำผึ้งแล้วนำไปนึ่งรับประทานทุกเช้าเย็น ก็จะช่วยบรรเทา
อาการของโรคหืดได้
เมล็ด ของส้มโอมีสรรพคุณ ช่วยบำรุงกระเพาะอาหารลดอาการปวดบวมของ
ผิวหนัง และยังช่วยลดปริมาณของเสมหะที่มีในลำคอไ้ด้อีกด้วย
ผล ช่วยเจริญอาหาร หากรับประทานเนื้อส้มโอหลังอาหาร จะช่วยให้ระบบย่อย
อาหารทำงานได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สูตรยาจากส้มโอ
การรักษา ส่วนที่ใช้ วิธีใช้
รักษาฝี เปลือกผลแก่ของส้มโอ -ตำเปลือกผลแก่ให้ละเอียด ใช้พอกบริเวณที่
เป็นฝี วันละ 2 - 3 ครั้ง หัวฝีจะหลุด
แก้อาการอาหารไม่ย่อย เปลือกผลแก่ของส้มโอ - นำเปลือกผลแก่ไปตากแดดให้แห้ง จากนั้น
ใช้ 10 กรัม ไปต้มรวมกับลูกเร่วแห้ง 10 กรัม
ใบกระเพาะอาหารไก่ 1 ใบ ผักคาวทองสด
15 กรัม ผงยีสต์แห้ง 1 ช้อนชา รับประทาน
หลังอาหาร จะช่วยลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ
เนื่องจากอาหารไม่ย่อย
ที่ทำให้เครืืองยนต์ หรือ กระบวนการต่างๆ ของร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติ
นอกจากนั้น ผลไม้ทุกชนิดยังอุดมไปด้วยเส้นใยอาหารและสารพฤกษเคมีสำคัญ
หลายชนิดที่มีคุณสมบัติในการต่อต้านสารอนุมูลอิสระ หรือ แอนติออกซิแดนท์ ( Antioxidant )
ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ อีกทั้งยังช่วยชะลอความชราได้อีกด้วย
"บ้านเราเป็นประเทศที่โชคดีทีเดียว มีผลไม้มากมายหลายชนิดให้เลือกซื้อรับประทาน
แทบทุกฤดูกาลจากทุกภูมิภาคเลยก็ว่าได้ นี่ยังไม่รวมแอ๊ปเปิ้ลเมืองจีน องุ่นแดงแคลิฟอร์เนีย
และผลไม้อิมพอร์ตทั้งหลาย
"พอเรามีตัวเลือกมากขึ้น หลายคนจึงหลงลืมผลไม้สัญชาติไทยในสวนหลังบ้านอย่าง
มะเฟือง ทับทิม มะยม มะขามป้อม ไปเสียถนัดใจ ทั้งที่ผลไม้เหล่านี้มีสรรพคุณทางยาที่
เราสามารถนำมารักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ มากมาย และหาได้ใกล้ตัว "
ผลไม้ไทย........ยาใกล้ตัว
1 มะเฟือง ( Starfruit )
นอกเหนือจากความสวยงามแปลกตาในเรื่องรูปทรงแล้ว ในด้านคุณค่าทางโภชนาการ
มะเฟื่องสุก ยังอุดมไปด้วยวิตามินซี วิตามินเอ ฟอสฟอรัส และแคลเซี่ยม ช่วยรักษาอาการ
เลือดออกตามไรฟัน เป็นยาระบายแ้ก้ท้องผูก ช่วยขับเสมหะได้
ในด้านสมุนไพร เราสามารถใช้ส่วนต่างๆ ของมะเฟืองมารักษาโรคได้ดังต่อไปนี้
ผล คั้นเอาแต่น้ำดื่ม จะช่วยบรรเทาอาการเจ็บคอ ไข้หวัด บรรเทาอาการนิ่ว
ในทางเดินปัสสาวะ ขับนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ช่วยลดอาการร้อนใน ช่วยขจัดรังแค นอกจากนั้นน้ำคั้นจากผลมะเฟื่องยังใช้ลบ
รอยเปื้อนบนมือ เสื้อผ้า และของใช้ต่างๆ ไ้ด้ดีอีกด้วย
ใบ นำมาต้มผสมกับน้ำ กินแก้ไข้ ขับปัสสาวะ ขับระดู หรือหากนำมาบดให้ละเีอียด
พอกบนผิวหนัง จะช่วยลดอาการอักเสบ ช้ำบวบ แก้ผื่นคัน กลากเกลื้อน และอีสุกอีใส
ราก มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ต้มกับน้ำ่ช่วยดับพิษร้อน แำก้อาการปวดศรีษะ
ปวดตามข้อต่างๆ ในร่างกาย ปวดแสบในกระเพาะอาหาร แก้อาการท้องร่วง
ดอก นิยมนำมาต้มน้ำดื่มเพื่อช่วยในการขับพิษและขับพยาธิ
สูตรยารักษาผิวหนังจากมะเฟือง
การรักษา ส่วนที่ใช้ วิธีใช้
แก้กลากเกลื้อน ใบและดอกมะเฟื่อง ตำใบสด ยอดอ่อน หรือดอก
อีสุกอีใส ให้ละเอียด แล้วพอกแผล
และผื่นคัน
ข้อควรระวัง
ผลมะเฟื่องมีกรดออกชาติกอยู่ค่อนข้างสูง ดังนั้น จึงไม่ควรกินในปริมาณมากเกินไป
เพราะจะทำให้เป็นฝ้าได้ อีกทั้งไม่ควรกินในขณะมีประจำเดือน เพราะ จะทำให้รู้สึกปวดท้อง
สตรีมีครรภ์ไม่ควรกินมาก เพราะจะทำให้แท้ได้
ส้มโอ ( Pomelo )
ในส้มโอมีสารเพกทิน ( Pectin ) สูง จึงมีคุณสมบัติช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด
อีกทั้งยังมีสารโมโนเทอร์ปีนที่ช่วยในการกวดจับสารก่อมะเร็ง นอกจากนั้น ส้มโอยังมีคุณสมบัติพิเศษ
อีกประการหนึ่ง คือ ช่วยขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยให้เจริญอาหารอีกด้วย
ใบ ใบสดนำมาตำให้ละเอียดแล้วย่างไฟให้อุ่น ใช้พอกบริเวณที่ปวดบวม หรือ
ปวดศรีษะได้
เปลือกผล เปลือกผลของส้มโอ มีน้ำมันหอมระเหยหลายชนิด ใช้เป็นยาขับลม
ขับเสมหะ แก้ท้องอืด แน่นหน้าอก ไอ สามารถใช้เปลือกผลตำพอกฝี และใช้จุดไฟไล่ยุงได้
หรือ หากนำเปลือกผลส้มโอมาผสมกับน้ำผึ้งแล้วนำไปนึ่งรับประทานทุกเช้าเย็น ก็จะช่วยบรรเทา
อาการของโรคหืดได้
เมล็ด ของส้มโอมีสรรพคุณ ช่วยบำรุงกระเพาะอาหารลดอาการปวดบวมของ
ผิวหนัง และยังช่วยลดปริมาณของเสมหะที่มีในลำคอไ้ด้อีกด้วย
ผล ช่วยเจริญอาหาร หากรับประทานเนื้อส้มโอหลังอาหาร จะช่วยให้ระบบย่อย
อาหารทำงานได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สูตรยาจากส้มโอ
การรักษา ส่วนที่ใช้ วิธีใช้
รักษาฝี เปลือกผลแก่ของส้มโอ -ตำเปลือกผลแก่ให้ละเอียด ใช้พอกบริเวณที่
เป็นฝี วันละ 2 - 3 ครั้ง หัวฝีจะหลุด
แก้อาการอาหารไม่ย่อย เปลือกผลแก่ของส้มโอ - นำเปลือกผลแก่ไปตากแดดให้แห้ง จากนั้น
ใช้ 10 กรัม ไปต้มรวมกับลูกเร่วแห้ง 10 กรัม
ใบกระเพาะอาหารไก่ 1 ใบ ผักคาวทองสด
15 กรัม ผงยีสต์แห้ง 1 ช้อนชา รับประทาน
หลังอาหาร จะช่วยลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ
เนื่องจากอาหารไม่ย่อย
เยาวชนกับยาเสพติด
เมื่อพูดถึงปัญหายาเสพติด คนส่วนใหญ่ก็มักจะมุ่งความสนใจไปที่กลุ่มผู้ผลิตผู้ค้าและ ผู้เสพยาเสพติด โดยเฉพาะผู้เสพยาเสพติดที่เป็นเยาวชน ซึ่งเป็นผู้เสียหายโดยตรงจึงทำให้ ้ทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นบิดามารดา ครู ผู้ปกครอง องค์กรภาครัฐ และภาคเอกชน ตลอดจน สื่อมวลชนต่างก็ให้ความสนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วม ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะการพยายามสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่เด็กและเยาวชน ให้มีชีวิตที่ดีงาม
ห่างไกลจากยาเสพติด ซึ่งต้องระมัดระวังทั้งในเรื่องของการสรรหาวิธีการและเลือกเฟ้นเนื้อหา ข้อความที่เข้าถึงเยาวชนได้ตรงจุด ทั้งนี้เพราะเด็กและเยาวชน นั้นจะมีลักษณะพิเศษ เช่น ไม่ชอบให้ใครว่ากล่าว ตักเตือนตรง ๆ โดยเฉพาะผู้ใหญ่แต่จะรับข่าวสารข้อมูล ได้มากขึ้นถ้า เยาวชนด้วยกันเป็นผู้ให้ข่าวสารข้อมูลนั้น หรือตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสื่อสารด้วย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) จึงได้จัดรายการ โทรทัศน์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนไทยขึ้น คือ รายการ “ฮัลโหล ไทยทีน” (HelloThai Teen) ซึ่งเป็นรายการโทรทัศน์เพื่อการป้องกันยาเสพติดของเยาวชน โดยเยาวชน และเพื่อ เยาวชน รายการ “ฮัลโหล ไทยทีน” เผยแพร่ออกอากาศทั่วประเทศทาง สถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 18.02 - 18.30 น. เป็นประจํ า
มีสมาชิกร่วมแลกเปลี่ยนส่งข่าวสาร ผ่านรายการทางจดหมาย E-mail โทรศัพท์ และวิทยุ ติดตามตัวเป็นจำนวนประมาณ 4,000 ราย โดยมีพิธีกร เป็นเยาวชน และเสนอกิจกรรมทาง เลือกของเยาวชนที่หลากหลายทั้งในด้านกีฬา ดนตรี งานอดิเรก และ การนำเสนอ ความคิดเห็น ของเด็กเยาวชน ในเรื่องป็ญหายาเสพติด หากจะมีแขกของรายการที่เป็นผู้ใหญ่เข้าไปร่วม รายการ ด้วย ก็จะต้องปรับภาษาพูดและเนื้อหาที่นำเสนอ ให้เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผล และ พูดถึงเรื่องประสบการณ์จริง ที่เยาวชนเคยพบเห็นหรือเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของเด็ก และเยาวชน ในการพบปะกับเยาวชนของเลขาธิการ คณะกรรมการป้องกัน และปราบปราม ยาเสพติด(นายสรสิทธิ์ แสงประเสริฐ) กับน้อง ๆ เยาวชน ใน รายการ โทรทัศน์ “ฮัลโหล ไทยทีน” แต่ละครั้งได้นำเสนอแนวคิดที่เป็นเหตุเป็นผล และเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวอยู่ใน ิถีชีวิตของ เด็กและเยาวชน ซึ่งผู้เขียน มองเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อการนำไปเผยแพร่ ่ในการพูดคุยเรื่อง ยาเสพติด กับเยาวชน ต่อไป จึงได้รวบรวมและเรียบเรียงประเด็นหลัก ๆ ไว้ดังนี้
อิทธิพลของเพื่อน
เพื่อนเป็นคนสำคัญของเราก็จริงอยู่ แต่ถ้าเพื่อนมีอิทธิพลต่อเราในทางที่ไม่ดี พาไปเสีย ผู้เสียคนในฐานะที่เราเป็นเพื่อนก็ต้องให้สติด้วยการตักเตือน และปฏิเสธไม่ทำตามและชักจูง ให้เขาได้ใช้ชีวิตที่ถูกต้อง และดีงาม แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ยุ่งยากเหลือบ่ากว่าแรงก็คงต้องโบก มือลาเลิกคบเสียดีกว่า ถือคติที่ว่า “มีเพื่อนดีเพียงหนึ่ง ถึงจะต้อง ดีกว่าเพื่อนร้อยเพื่อนเลว”
ถ้าเป็นเรื่องยาเสพติด ไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ด้วยตนเอง เรื่องบางเรื่องจำเป็นต้องพิสูจน์ ด้วยตนเองแล้ว จึงเชื่อ แต่เรื่องยาเสพติดไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ด้วยตนเอง เพราะกาลเวลาผ่านมา กี่ยุคกี่สมัย ยาเสพติดก็ยังเป็น สิ่งที่มีโทษพิษภัยต่อร่างกาย และมีผลกระทบทำลายครอบครัว ชุมชน และความมั่นคงของประเทศชาติ หากลูกหลายจะลงทุนพิสูจน์ยาเสพติด ด้วยการ ทดลองใช้ด้วยตนเองก็เป็นการลงทุนที่สูงมาก ไม่คุ้มกับการลงทุนเพราะยาเสพติดมีฤทธิ์ ทางเภสัช ทำให้เสพติดได้ และเลิกได้ยาก บางทีอาจสูญเสียเวลา และอนาคตกับเรื่องนี้ ี้ไปตลอดชีวิต เพราะฉะนั้นอย่าได้คิดทดลองเลยจะดีกว่า
เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันผู้ค้ายาเสพติด
เยาวชนส่วนใหญ่อยู่ในวัยเรียน มีเงินอยู่ในกระเป๋าเสมอสําหรับค่าขนม และค่าใช้จ่าย ส่วนตัวที่จำเป็น ซึ่งพ่อแม่และผู้ปกครองให้มา จึงทำให้ผู้ลักลอบค้ายาเสพติด มีความมั่นใจ ว่าการค้ายาเสพติด ให้กับเยาวชน นั้นจะทำให้มีลูกค้าอยู่สม่ำเสมอ และใช้กลยุทธในการขาย แบบขายตรง(Direct sale) ในกลุ่มเพื่อนสนิท และด้วยความเป็นเพื่อนสนิท จึงไม่กล้าเปิดเผย ความผิดของเพื่อน และไม่กล้า ปฏิเสธเพื่อน จึงทำให้การแพร่ ่ระบาด ยาเสพติดเป็นไป อย่าง กว้างขวางและรวดเร็ว จึงจำเป็นที่เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันกลลวงของผู้ค้า ยาเสพติดที่จ้อง จะดูดเงินค่าขนมในกระเป๋าของเยาวชนตลอดมา
ติดกีฬาก็มีความสุขได้
การเล่นกีฬาไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมทางเลือกที่เบี่ยงเบนความสนใจของเยาวชนให้ ห่างไกลยาเสพติดเท่านั้น แต่ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เชื่อว่า การออกกำลังกายหรือ การเล่นกีฬานั้น จะทำให้ต่อมไร้ท่อใต้สมอง หลั่งสาร เคมีชนิดหนึ่งชื่อ “เอนโดฟีน” ออกมา ซึ่งสารชนิดนี้จะทำให้รู้สึกสดชื่น และ เป็นสุขผู้ที่ออก กำาลังกาย อยู่เสมอจึงมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์สมกับที่กล่าวว่า “กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ” ดังนั้น จึงควรที่จะช่วย กันส่งเสริม ให้เ ยาวชน ได้ออก กำลังกายและเล่นกีฬา เพื่อให้มีสาร “เอนโดฟีน” อยู่ในร่างกายเกิดความสุขได้
โดยไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด
ห่างไกลจากยาเสพติด ซึ่งต้องระมัดระวังทั้งในเรื่องของการสรรหาวิธีการและเลือกเฟ้นเนื้อหา ข้อความที่เข้าถึงเยาวชนได้ตรงจุด ทั้งนี้เพราะเด็กและเยาวชน นั้นจะมีลักษณะพิเศษ เช่น ไม่ชอบให้ใครว่ากล่าว ตักเตือนตรง ๆ โดยเฉพาะผู้ใหญ่แต่จะรับข่าวสารข้อมูล ได้มากขึ้นถ้า เยาวชนด้วยกันเป็นผู้ให้ข่าวสารข้อมูลนั้น หรือตนเองเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสื่อสารด้วย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนักงาน ป.ป.ส.) จึงได้จัดรายการ โทรทัศน์เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนไทยขึ้น คือ รายการ “ฮัลโหล ไทยทีน” (HelloThai Teen) ซึ่งเป็นรายการโทรทัศน์เพื่อการป้องกันยาเสพติดของเยาวชน โดยเยาวชน และเพื่อ เยาวชน รายการ “ฮัลโหล ไทยทีน” เผยแพร่ออกอากาศทั่วประเทศทาง สถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 18.02 - 18.30 น. เป็นประจํ า
มีสมาชิกร่วมแลกเปลี่ยนส่งข่าวสาร ผ่านรายการทางจดหมาย E-mail โทรศัพท์ และวิทยุ ติดตามตัวเป็นจำนวนประมาณ 4,000 ราย โดยมีพิธีกร เป็นเยาวชน และเสนอกิจกรรมทาง เลือกของเยาวชนที่หลากหลายทั้งในด้านกีฬา ดนตรี งานอดิเรก และ การนำเสนอ ความคิดเห็น ของเด็กเยาวชน ในเรื่องป็ญหายาเสพติด หากจะมีแขกของรายการที่เป็นผู้ใหญ่เข้าไปร่วม รายการ ด้วย ก็จะต้องปรับภาษาพูดและเนื้อหาที่นำเสนอ ให้เป็นเรื่องที่เป็นเหตุเป็นผล และ พูดถึงเรื่องประสบการณ์จริง ที่เยาวชนเคยพบเห็นหรือเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของเด็ก และเยาวชน ในการพบปะกับเยาวชนของเลขาธิการ คณะกรรมการป้องกัน และปราบปราม ยาเสพติด(นายสรสิทธิ์ แสงประเสริฐ) กับน้อง ๆ เยาวชน ใน รายการ โทรทัศน์ “ฮัลโหล ไทยทีน” แต่ละครั้งได้นำเสนอแนวคิดที่เป็นเหตุเป็นผล และเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวอยู่ใน ิถีชีวิตของ เด็กและเยาวชน ซึ่งผู้เขียน มองเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อการนำไปเผยแพร่ ่ในการพูดคุยเรื่อง ยาเสพติด กับเยาวชน ต่อไป จึงได้รวบรวมและเรียบเรียงประเด็นหลัก ๆ ไว้ดังนี้
อิทธิพลของเพื่อน
เพื่อนเป็นคนสำคัญของเราก็จริงอยู่ แต่ถ้าเพื่อนมีอิทธิพลต่อเราในทางที่ไม่ดี พาไปเสีย ผู้เสียคนในฐานะที่เราเป็นเพื่อนก็ต้องให้สติด้วยการตักเตือน และปฏิเสธไม่ทำตามและชักจูง ให้เขาได้ใช้ชีวิตที่ถูกต้อง และดีงาม แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ยุ่งยากเหลือบ่ากว่าแรงก็คงต้องโบก มือลาเลิกคบเสียดีกว่า ถือคติที่ว่า “มีเพื่อนดีเพียงหนึ่ง ถึงจะต้อง ดีกว่าเพื่อนร้อยเพื่อนเลว”
ถ้าเป็นเรื่องยาเสพติด ไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ด้วยตนเอง เรื่องบางเรื่องจำเป็นต้องพิสูจน์ ด้วยตนเองแล้ว จึงเชื่อ แต่เรื่องยาเสพติดไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ด้วยตนเอง เพราะกาลเวลาผ่านมา กี่ยุคกี่สมัย ยาเสพติดก็ยังเป็น สิ่งที่มีโทษพิษภัยต่อร่างกาย และมีผลกระทบทำลายครอบครัว ชุมชน และความมั่นคงของประเทศชาติ หากลูกหลายจะลงทุนพิสูจน์ยาเสพติด ด้วยการ ทดลองใช้ด้วยตนเองก็เป็นการลงทุนที่สูงมาก ไม่คุ้มกับการลงทุนเพราะยาเสพติดมีฤทธิ์ ทางเภสัช ทำให้เสพติดได้ และเลิกได้ยาก บางทีอาจสูญเสียเวลา และอนาคตกับเรื่องนี้ ี้ไปตลอดชีวิต เพราะฉะนั้นอย่าได้คิดทดลองเลยจะดีกว่า
เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันผู้ค้ายาเสพติด
เยาวชนส่วนใหญ่อยู่ในวัยเรียน มีเงินอยู่ในกระเป๋าเสมอสําหรับค่าขนม และค่าใช้จ่าย ส่วนตัวที่จำเป็น ซึ่งพ่อแม่และผู้ปกครองให้มา จึงทำให้ผู้ลักลอบค้ายาเสพติด มีความมั่นใจ ว่าการค้ายาเสพติด ให้กับเยาวชน นั้นจะทำให้มีลูกค้าอยู่สม่ำเสมอ และใช้กลยุทธในการขาย แบบขายตรง(Direct sale) ในกลุ่มเพื่อนสนิท และด้วยความเป็นเพื่อนสนิท จึงไม่กล้าเปิดเผย ความผิดของเพื่อน และไม่กล้า ปฏิเสธเพื่อน จึงทำให้การแพร่ ่ระบาด ยาเสพติดเป็นไป อย่าง กว้างขวางและรวดเร็ว จึงจำเป็นที่เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันกลลวงของผู้ค้า ยาเสพติดที่จ้อง จะดูดเงินค่าขนมในกระเป๋าของเยาวชนตลอดมา
ติดกีฬาก็มีความสุขได้
การเล่นกีฬาไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมทางเลือกที่เบี่ยงเบนความสนใจของเยาวชนให้ ห่างไกลยาเสพติดเท่านั้น แต่ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เชื่อว่า การออกกำลังกายหรือ การเล่นกีฬานั้น จะทำให้ต่อมไร้ท่อใต้สมอง หลั่งสาร เคมีชนิดหนึ่งชื่อ “เอนโดฟีน” ออกมา ซึ่งสารชนิดนี้จะทำให้รู้สึกสดชื่น และ เป็นสุขผู้ที่ออก กำาลังกาย อยู่เสมอจึงมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์สมกับที่กล่าวว่า “กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ” ดังนั้น จึงควรที่จะช่วย กันส่งเสริม ให้เ ยาวชน ได้ออก กำลังกายและเล่นกีฬา เพื่อให้มีสาร “เอนโดฟีน” อยู่ในร่างกายเกิดความสุขได้
โดยไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
๑. ความหมายของยาเสพติด
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู้ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง
ลักษณะสำคัญของสารเสพติด จะทำให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้
๑. เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
๒. เกิดอาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
๓. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา
๔. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
๒. ประเภทของยาเสพติด
ยาเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
ฝิ่น
เอ๊กซ์ตาซี
๑. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑.๑ ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา เป็นต้น
เฮโรอีน
ยาบ้า
๑.๒ ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น
๒. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ
๒.๑ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ
๒.๒ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน
๒.๓ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๓ ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ ๒ ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่
ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
๒.๔ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๔ คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ หรือประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย ได้แก่น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก ๑๒ ชนิด ที่สามารถนำมาผลิตยาอีและยาบ้าได้
ผสมผสาน
เห็ดขี้ควาย
๒.๕ ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ ๕ เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ ๑ ถึง ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
๓. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ
๓.๑ ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท
๓.๒ ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน
๓.๓ ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย
๓.๔ ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา
๔. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น ๙ ประเภท คือ
๔.๑ ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน
๔.๒ ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์ปิตาล อะโมบาร์ปิตาล พาราลดีไฮด์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม เป็นต้น
๔.๓ ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี้
๔.๔ ประเภทแอมเฟตามีน ได้แก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน
๔.๕ ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา
๔.๖ ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา
๔.๗ ประเภทใบกระท่อม
๔.๘ ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็นที เมสตาลีน เมลัดมอนิ่งกลอรี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด
๔.๙ ประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจาก ๘ ประเภทข้างต้น ได้แก่ สารระเหยต่าง ๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด และบุหรี่
๓. วิธีการเสพยาเสพติด
กระทำได้หลายวิธี ดังนี้คือ
๓.๑ สอดใต้หนังตา
๓.๒ สูบ
๓.๓ ดม
๓.๔ รับประทานเข้าไป
๓.๕ อมไว้ใต้ลิ้น
๓.๖ ฉีดเข้าเหงือก
๓.๗ ฉีดเข้าเส้นเลือด
๓.๘ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
๓.๙ เหน็บทางทวารหนัก
๔. ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย ได้แก่
๔.๑ ยาบ้า
๔.๒ ยาอี ยาเลิฟ หรือ เอ็กซ์ตาซี
๔.๓ ยาเค
๔.๔ โคเคน
๔.๕ เฮโรอีน
๔.๖ กัญชา
๔.๗ สารระเหย
๔.๘ แอลเอสดี
๔.๙ ฝิ่น
๔.๑๐ มอร์ฟีน
๔.๑๑ กระท่อม
๔.๑๒ เห็ดขี้ควาย
๕. สาเหตุของการติดยาเสพติด
มีหลายประการ ดังนี้คือ
๕.๑ อยากลอง อยากรู้ อยากเห็น อยากสัมผัส ซึ่งเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ โดยคิดว่า "ไม่ติด" แต่เมื่อลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด
๕.๒ ถูกเพื่อนชักชวน ส่วนใหญ่พบในกลุ่มเยาวชน ทำตามเพื่อน เพราะต้องการ การยอมรับจากเพื่อนฝูง หรือถูกชักจูงว่าใช้แล้วทำให้สมองปลอดโปร่ง หรือใช้แล้วทำให้ขยันจึงเหมาะแก่การเรียน และการทำงาน
๕.๓ ถูกหลอกลวง โดยอาศัยรูปแบบสีสันสวยงาม ทำให้ผู้รับไม่อาจทราบได้ว่า สิ่งที่ตนได้รับเป็นยาเสพติด
๕.๔ ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บ จนเกิดการติดยา เพราะใช้เป็นประจำ
๕.๕ เกิดจากความคนอง และขาดสติยั้งคิด ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นยาเสพติด แต่อยากแสดง ความเก่งกล้า อวดเพื่อน จึงชวนกันเสพจนติด
๕.๖ ภาวะสิ่งแวดล้อมรอบตัว เอื้ออำนวยที่จะส่งเสริม และผลักดันให้หันเข้าหายาเสพติด เช่น ครอบครัวแตกแยก สมาชิกในครอบครัวขาดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภาวะเศรษฐกิจบีบบังคับให้ทำเพื่อความอยู่รอด อยากรวยเร็ว หรือพักอาศัยอยู่ ในแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด
๖. โทษ/พิษภัย ของยาเสพติด
การใช้ยาเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจากจะส่งผลกระทบในทางไม่ดีโดยตรงต่อตัวผู้เสพแล้ว ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ยังส่งผลกระทบทางอ้อมไปยังครอบครัวผู้เสพ ตลอดจนเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติอีกด้วย
๗. วิธีสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด
จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด ให้สังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย และจิตใจดังต่อไปนี้
๗.๑ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จะสังเกตได้จาก
๗.๑.๑ สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
๗.๑.๒ ริมฝีปากเขียวคล้ำ แห้ง และแตก
๗.๑.๓ ร่างกายสกปรก เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรงเพราะไม่ชอบอาบน้ำ
๗.๑.๔ ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้ำเหลือง คล้ายโรคผิวหนัง
๗.๑.๕ มีรอยกรีดด้วยของมีคม เป็นรอยแผลเป็นปรากฏที่บริเวณแขน และ/หรือ ท้องแขน
๗.๑.๖ ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแว่นตาดำเพื่อปิดบังม่านตาที่ ขยาย
๗.๒ การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติและบุคลิกภาพ สังเกตุได้จาก
๗.๒.๑ เป็นคนเจ้าอารมย์ หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล
๗.๒.๒ ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่
๗.๒.๓ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
๗.๒.๔ พูดจากร้าวร้าว แม้แต่บิดามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง
๗.๒.๕ ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว ไม่เข้าหน้าผู้อื่น ทำตัวลึกลับ
๗.๒.๖ ชอบเข้าห้องน้ำนาน ๆ
๗.๒.๔ ใช้เงินเปลืองผิดปกติ ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย
๗.๒.๕ พบอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น หลอดฉีดยา เข็มฉีดยา กระดาษตะกั่ว
๗.๒.๖ มั่วสุมกับคนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
๗.๒.๗ ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายสกปรก ไม่เรียบร้อย ไม่ค่อยอาบน้ำ
๗.๒.๘ ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลับบ้านผิดเวลา
๗.๒.๙ ไม่ชอบทำงาน เกียจคร้าน ชอบนอนตื่นสาย
๗.๒.๑๐ มีอาการวิตกกังวล เศร้าซึม สีหน้าหมองคล้ำ
๗.๓ การสังเกตุอาการขาดยา ดังต่อไปนี้
๗.๓.๑ น้ำมูก น้ำตาไหล หาวบ่อย
๗.๓.๒ กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อาจมีอุจาระเป็นเลือด
๗.๓.๓ ขนลุก เหงื่อออกมากผิดปกติ
๗.๓.๔ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเสียวในกระดูก
๗.๓.๕ ม่านตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดด
๗.๓.๖ มีอาการสั่น ชัก เกร็ง ไข้ขึ้นสูง ความดันโลหิตสูง
๗.๓.๗ เป็นตะคริว
๗.๓.๘ นอนไม่หลับ
๗.๓.๙ เพ้อ คลุ้มคลั่ง อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้
๘. การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย
การตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน
๘.๑ การตรวจขั้นต้น : ราคาถูก ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจสำเร็จรูป ความแม่นยำในการตรวจปานกลาง สดวกในการนำไปตรวจนอกสถานที่
๘.๒ การตรวจขั้นยืนยัน : เป็นการตรวจที่ให้ผลแม่นยำ แต่ใช้เวลาตรวจนาน ค่าใช้จ่ายสูง
๙. การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดำเนินงานเพื่อแก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไปดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งออกเป็น ๓ ระบบคือ
๙.๑ ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลต่าง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน
๙.๒ ระบบต้องโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดที่กระทำความผิดและถูกคุมขัง จะได้รับการบำบัดรักษา ในสถานพยาบาลที่กำหนดได้ตามกฎหมาย เช่น ทัณฑสถานบำบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สำนักงานคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรมหรือสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง กระทรวงยุติธรรม
๙.๓ ระบบบังคับบำบัด หมายถึง ผู้ที่ทางราชการตรวจพบว่ามีสารเสพติดในร่างกาย จะต้องถูกบังคับบำบัดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ในสถานพยาบาลที่จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว เป็นระยะเวลา ๖ เดือน และขยายได้จนถึงไม่เกิน ๓ ปี ระบบนี้ยังไม่เปิดใช้ในขณะนี้ การบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด มี ๔ ขั้นตอน คือ
๙.๑ ขั้นเตรียมการก่อนบำบัดรักษา (Pre - admission) เพื่อศึกษาประวัติภูมิหลังของผู้ติดยาเสพติดทั้งจากผู้ขอรับการรักษา และครอบครัว
๙.๒ ขั้นถอนพิษยา (Detoxification) เป็นการบำบัดรักษาอาการทางกายที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด โดยผู้ขอรับการรักษา สามารถเลือกใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก หรือผู้ป่วยใน ก็ได้ตามสดวก
๙.๓ ขั้นการฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) เป็นการบำบัดรักษาเพื่อปรับเปลี่ยน ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ พฤติกรรม เพื่อให้รู้จักตนเอง และมีความเข้มแข็งในจิตใจ เพื่อให้ผู้รับการบำบัดมีความเชื่อมั่นในการกลับไปดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ โดยไม่หวนกลับไปเสพซ้ำอีก
๙.๔ ขั้นติดตามดูแล (After - case) เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกยาเสพติดที่ได้ผ่านการบำบัดครบทั้ง ๓ ขั้นตอนข้างต้นแล้ว เพื่อให้คำแนะนำ แก้ไขปัญหาและให้กำลังใจผู้เลิกยาเสพติด ให้ดำเนินชีวิตอย่างปกติสุขในสังคมได้ยิ่งขิ้น
๑๐. สถานบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
ผู้ติดยาเสพติด หรือ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถขอรับการบำบัดรักษาได้ตามสถานพยาบาลต่าง ๆ ที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน ทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร และส่วนภูมิภาค ดังต่อไปนี้
๑. ในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถใช้บริการได้ที่โรงพยาบาล และคลีนิกยาเสพติด ในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้แก่
โรงพยาบาล
๑.๑ โรงพยาบาลราชวิถี โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๐๐๕๒ ต่อ ๔๓๐๒
๑.๒ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๑๔๐๐ ถึง ๑๔๒๘ ต่อ ๓๑๘๗
๑.๓ โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพฯ โทร. ๐ - ๒๔๑๑ - ๒๔๑๙๑
๑.๔ โรงพยาบาลนิติจิตเวช โทร ๐ - ๒๔๔๑ - ๙๐๒๖ - ๙
๑.๕ โรงพยาบาลตากสิน โทร. ๐ - ๒๘๖๓ - ๑๓๗๑ ถึง ๒, ๐ - ๒๔๓๗ - ๐๑๒๓ ต่อ ๑๑๕๓,๑๒๔๘
คลินิกยาเสพติดในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กทม.
๑.๖ คลินิกยาเสพติด ๑ ลุมพินี โทร. ๐ - ๒๒๕๐ - ๐๒๘๖
๑.๗ คลินิกยาเสพติด ๒ สี่พระยา โทร. ๐ - ๒๒๓๖ - ๔๑๗๔
๑.๘ คลินิกยาเสพติด ๓ บางอ้อ โทร. ๐ - ๒๔๒๔-๖๙๓๓
๑.๙ คลินิกยาเสพติด ๔ บางซื่อ โทร. ๐ - ๒๕๘๗ - ๐๘๗๓
๑.๑๐ คลินิกยาเสพติด ๕ ดินแดน โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๐๖๔๐
๑.๑๑ คลินิกยาเสพติด ๖ วัดธาตุทอง โทร. ๐ - ๒๓๙๑ - ๘๕๓๙
๑.๑๒ คลินิกยาเสพติด ๗ สาธุประดิษฐ์ โทร. ๐ - ๒๒๘๔ - ๓๒๔๔
๑.๑๓ คลินิกยาเสพติด ๘ ซอยอ่อนนุช โทร. ๐ - ๒๓๒๑ - ๒๕๖๖
๑.๑๔ คลินิกยาเสพติด ๙ บางขุนเทียน โทร. ๐ - ๒๔๖๘ - ๒๕๗๐
๑.๑๕ คลินิกยาเสพติด ๑๐ สโมสรวัฒนธรรม โทร. ๐ - ๒๒๘๑ - ๙๗๓๐
๑.๑๖ คลินิกยาเสพติด ๑๑ ลาดพร้าว โทร. ๐ - ๒๕๑๓ - ๒๕๐๙
๑.๑๗ คลินิกยาเสพติด ๑๒ วงศ์สว่าง โทร. ๐ - ๒๕๘๕ - ๑๖๗๒
๑.๑๘ คลินิกยาเสพติด ๑๓ ภาษีเจริญ โทร. ๐ - ๒๔๑๓ - ๒๔๓๕
๑.๑๙ คลินิกยาเสพติด ๑๔ คลองเตย โทร. ๐ - ๒๒๔๙ - ๑๘๕๒
๑.๒๐ คลินิกยาเสพติด ๑๕ วัดไผ่ตัน โทร. ๐ - ๒๒๗๐ - ๑๙๘๕
๒. ในส่วนภูมิภาค ได้แก่
โรงพยาบาล
๒.๑ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สายด่วนปรึกษาปัญหายาเสพติด โทร. ๐๒ - ๑๑๖๕ และ โทร. ๐ - ๒๕๓๑ - ๐๐๘๐ ถึง ๘
๒.๒ โรงพยาบาลประจำจังหวัดทุกจังหวัด ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
๒.๓ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ประจำภาคเหนือ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๙๗ - ๙๗๖ ถึง ๗
๒.๔ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ประจำภาคใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โทร. (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๕๓, (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๖๘
๒.๕ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดประจำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทร. (๐๔๓) ๒๔๕ - ๓๖๖
๒.๖ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร. (๐๕๓) ๖๑๒ - ๖๐๗
๒.๗ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จังหวัดปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โทร. (๐๗๓) ๓๓๓ - ๒๙๑
๓. สถานพยาบาลที่ดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
๓.๑ สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด บ้านพิชิตใจ แขวงประเวศ กทม. โทร. ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๓๕๓, ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๕๖๖
๓.๒ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คอมมูนิต้า อินคอน - อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โทร. ๐ - ๒๕๖๓ - ๑๐๐๖ - ๗, ๐๑ - ๒๑๓๒๕๐๕ - อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โทร. ๐๑ - ๙๓๗ - ๑๓๔๕ - อำเภอท่าแร่ จังหวัดสกลนคร โทร.๐๑ - ๒๑๒๐๘๐๔
๓.๓ ศูนย์เกิดใหม่ (ชาย) อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี โทร. (๐๓๒) ๒๖๑๐๓๘ - ๔๐
๓.๔ ศูนย์เกิดใหม่ (หญิง) อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร. (๐๓๘) ๕๔๑๖๙๓
๓.๕ บ้านสันติสุข อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โทร. ๐๑ - ๒๑๘๑๓๔๓
๓.๖ บ้านตะวันใหม่ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ โทร. ๐๑ - ๒๑๐๑๕๗๓
๓.๗ บ้านนิมิตใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๗๗๐๔๙, (๐๕๓) ๒๘๒๔๙๕
๑๑. วิธีการแจ้งข่าวสารยาเสพติด
การให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารยาเสพติด เพื่อปราบปรามแหล่งผลิต แหล่งค้า แหล่งจำหน่าย และแหล่งมั่วสุมยาเสพติด เพื่อจับกุมผู้กระทำความผิดมาดำเนินการตามกฎหมายนั้น นับเป็นการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อทางราชการและประเทศชาติ แต่ขณะเดียวกัน การกระทำดังกล่าวควรปฏิบัติด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง เพื่อมิให้ถูกคุกคามจากอิทธิพลของผู้ถูกจับกุมด้วย ฉะนั้น เพื่อความปลอดภัย ผู้แจ้งข่าวสารสามารถเลือกปฏิบัติได้ ๒ วิธีคือ
๑. แจ้งข่าวสารโดยไม่เปิดเผยตนเอง กรณีนี้ ผู้แจ้งสามารถแจ้งข่าวสารต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทุกสถานีทั่วประเทศ หรือแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ ปปส. โดยทำเป็นจดหมาย ไม่ต้องระบุชื่อผู้แจ้ง แต่ต้องให้รายละเอียดที่เป็นประโยชน์ในการสืบสวน ติดตาม กล่าวคือ ข้อมูลที่ให้ต้องครอบคลุมคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างชัดเจน
๒. แจ้งข่าวสารโดยแสดงตัวผู้แจ้ง โดยผู้แจ้งต้องมั่นใจได้ว่า ผู้รับแจ้งนั้นต้องสามารถเก็บความลับได้ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้แจ้งได้ หากถูกคุกคามจากอิทธิพลของผู้ถูกจับกุม ทั้งนี้เพื่อขอความคุ้มครอง และแจ้งรายละเอียดของผู้ที่คุกคาม ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินการตามกฏหมายต่อไป
๑๒. สถานที่รับแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด
ผู้แจ้งข่าวสาร สามารถติดต่อแจ้งข่าวยาเสพติด ได้ที่หน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๑๒.๑ ศูนย์รับแจ้งข่าวยาเสพติด โทร.สายด่วน ๐๒ - ๑๖๘๘
๑๒.๒ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โทร. ๐ - ๒๒๕๑ - ๒๗๒๖ และ ๐ - ๒๒๕๒ - ๗๙๖๒
๑๒.๓ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ถนนดินแดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๔๑๔, ๐ - ๒๒๔๗๐๙๐๑ - ๑๙ ต่อ ๒๕๘ หรือโทรสาร ๐ - ๒๒๔๗ - ๗๒๑๗
๑๒.๔ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาคกลาง ถนนดินแดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๙๕๒, ๐ - ๒๒๔๕ - ๓๙๗๒ หรือ โทรสาร ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๕๒
๑๒.๕ ตู้ ป.ณ.๑๒๓ สามเสนใน กทม. ๑๐๔๐๐
๑๒.๖ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาคเหนือ บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา อำเภอเมือง ฯ จังหวัดเชียงใหม่ ๒๐๑๘๐ โทร. (๐๕๓) ๒๑๑๗๙๓, (๐๕๓) ๒๑๒๐๒๘ หรือ โทรสาร (๐๕๓) ๒๑๑๘๐๘ และ (๐๕๓) ๒๑๑๗๘๐
๑๒.๗ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาคใต้ ๔๓๔ ถนนไทรบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โทร. (๐๗๔) ๓๑๒๐๘๘, (๐๗๔) ๓๒๓๓๐๐ หรือ โทรสาร (๐๗๔) ๓๒๑๕๑๔
๑๒.๘ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราบยาเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตรงข้ามที่ทำการป่าไม้เขต ถนนหน้าศูนย์ราชการ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร. (๐๔๓) ๒๔๑๐๒๙, (๐๔๓) ๓๔๔๔๒๐ หรือ โทรสาร (๐๔๓) ๒๔๖ - ๗๙๐
----------------------
ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารที่สังเคราะห์ขึ้น เมี่อนำเข้าสู้ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนั้นเป็นประจำทุกวัน หรือวันละหลาย ๆ ครั้ง
ลักษณะสำคัญของสารเสพติด จะทำให้เกิดอาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้
๑. เกิดอาการดื้อยา หรือต้านยา และเมื่อติดแล้ว ต้องการใช้สารนั้นในประมาณมากขึ้น
๒. เกิดอาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมื่อใช้สารนั้นเท่าเดิม ลดลง หรือหยุดใช้
๓. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา
๔. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อื่น ตลอดจนสังคม และประเทศชาติ
๒. ประเภทของยาเสพติด
ยาเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
ฝิ่น
เอ๊กซ์ตาซี
๑. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑.๑ ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา เป็นต้น
เฮโรอีน
ยาบ้า
๑.๒ ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น
๒. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ
๒.๑ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ
๒.๒ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน
๒.๓ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๓ ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ ๒ ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่
ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
๒.๔ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๔ คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๑ หรือประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย ได้แก่น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก ๑๒ ชนิด ที่สามารถนำมาผลิตยาอีและยาบ้าได้
ผสมผสาน
เห็ดขี้ควาย
๒.๕ ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ ๕ เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ ๑ ถึง ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
๓. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ
๓.๑ ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท
๓.๒ ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน
๓.๓ ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย
๓.๔ ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา
๔. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น ๙ ประเภท คือ
๔.๑ ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน
๔.๒ ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์ปิตาล อะโมบาร์ปิตาล พาราลดีไฮด์ เมโปรบาเมท ไดอาซีแพม เป็นต้น
๔.๓ ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี้
๔.๔ ประเภทแอมเฟตามีน ได้แก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน
๔.๕ ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา
๔.๖ ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา
๔.๗ ประเภทใบกระท่อม
๔.๘ ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็นที เมสตาลีน เมลัดมอนิ่งกลอรี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด
๔.๙ ประเภทอื่น ๆ นอกเหนือจาก ๘ ประเภทข้างต้น ได้แก่ สารระเหยต่าง ๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ ยาแก้ปวด และบุหรี่
๓. วิธีการเสพยาเสพติด
กระทำได้หลายวิธี ดังนี้คือ
๓.๑ สอดใต้หนังตา
๓.๒ สูบ
๓.๓ ดม
๓.๔ รับประทานเข้าไป
๓.๕ อมไว้ใต้ลิ้น
๓.๖ ฉีดเข้าเหงือก
๓.๗ ฉีดเข้าเส้นเลือด
๓.๘ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
๓.๙ เหน็บทางทวารหนัก
๔. ยาเสพติดที่แพร่ระบาดในประเทศไทย ได้แก่
๔.๑ ยาบ้า
๔.๒ ยาอี ยาเลิฟ หรือ เอ็กซ์ตาซี
๔.๓ ยาเค
๔.๔ โคเคน
๔.๕ เฮโรอีน
๔.๖ กัญชา
๔.๗ สารระเหย
๔.๘ แอลเอสดี
๔.๙ ฝิ่น
๔.๑๐ มอร์ฟีน
๔.๑๑ กระท่อม
๔.๑๒ เห็ดขี้ควาย
๕. สาเหตุของการติดยาเสพติด
มีหลายประการ ดังนี้คือ
๕.๑ อยากลอง อยากรู้ อยากเห็น อยากสัมผัส ซึ่งเป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งของมนุษย์ โดยคิดว่า "ไม่ติด" แต่เมื่อลองเสพเข้าไปแล้วมักจะติด
๕.๒ ถูกเพื่อนชักชวน ส่วนใหญ่พบในกลุ่มเยาวชน ทำตามเพื่อน เพราะต้องการ การยอมรับจากเพื่อนฝูง หรือถูกชักจูงว่าใช้แล้วทำให้สมองปลอดโปร่ง หรือใช้แล้วทำให้ขยันจึงเหมาะแก่การเรียน และการทำงาน
๕.๓ ถูกหลอกลวง โดยอาศัยรูปแบบสีสันสวยงาม ทำให้ผู้รับไม่อาจทราบได้ว่า สิ่งที่ตนได้รับเป็นยาเสพติด
๕.๔ ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บ จนเกิดการติดยา เพราะใช้เป็นประจำ
๕.๕ เกิดจากความคนอง และขาดสติยั้งคิด ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นยาเสพติด แต่อยากแสดง ความเก่งกล้า อวดเพื่อน จึงชวนกันเสพจนติด
๕.๖ ภาวะสิ่งแวดล้อมรอบตัว เอื้ออำนวยที่จะส่งเสริม และผลักดันให้หันเข้าหายาเสพติด เช่น ครอบครัวแตกแยก สมาชิกในครอบครัวขาดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภาวะเศรษฐกิจบีบบังคับให้ทำเพื่อความอยู่รอด อยากรวยเร็ว หรือพักอาศัยอยู่ ในแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด
๖. โทษ/พิษภัย ของยาเสพติด
การใช้ยาเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจากจะส่งผลกระทบในทางไม่ดีโดยตรงต่อตัวผู้เสพแล้ว ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ยังส่งผลกระทบทางอ้อมไปยังครอบครัวผู้เสพ ตลอดจนเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติอีกด้วย
๗. วิธีสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด
จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด ให้สังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย และจิตใจดังต่อไปนี้
๗.๑ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จะสังเกตได้จาก
๗.๑.๑ สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
๗.๑.๒ ริมฝีปากเขียวคล้ำ แห้ง และแตก
๗.๑.๓ ร่างกายสกปรก เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรงเพราะไม่ชอบอาบน้ำ
๗.๑.๔ ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้ำเหลือง คล้ายโรคผิวหนัง
๗.๑.๕ มีรอยกรีดด้วยของมีคม เป็นรอยแผลเป็นปรากฏที่บริเวณแขน และ/หรือ ท้องแขน
๗.๑.๖ ชอบใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแว่นตาดำเพื่อปิดบังม่านตาที่ ขยาย
๗.๒ การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติและบุคลิกภาพ สังเกตุได้จาก
๗.๒.๑ เป็นคนเจ้าอารมย์ หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล
๗.๒.๒ ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่
๗.๒.๓ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
๗.๒.๔ พูดจากร้าวร้าว แม้แต่บิดามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง
๗.๒.๕ ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว ไม่เข้าหน้าผู้อื่น ทำตัวลึกลับ
๗.๒.๖ ชอบเข้าห้องน้ำนาน ๆ
๗.๒.๔ ใช้เงินเปลืองผิดปกติ ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย
๗.๒.๕ พบอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น หลอดฉีดยา เข็มฉีดยา กระดาษตะกั่ว
๗.๒.๖ มั่วสุมกับคนที่มีพฤติกรรมเกี่ยวกับยาเสพติด
๗.๒.๗ ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายสกปรก ไม่เรียบร้อย ไม่ค่อยอาบน้ำ
๗.๒.๘ ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลับบ้านผิดเวลา
๗.๒.๙ ไม่ชอบทำงาน เกียจคร้าน ชอบนอนตื่นสาย
๗.๒.๑๐ มีอาการวิตกกังวล เศร้าซึม สีหน้าหมองคล้ำ
๗.๓ การสังเกตุอาการขาดยา ดังต่อไปนี้
๗.๓.๑ น้ำมูก น้ำตาไหล หาวบ่อย
๗.๓.๒ กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อาจมีอุจาระเป็นเลือด
๗.๓.๓ ขนลุก เหงื่อออกมากผิดปกติ
๗.๓.๔ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเสียวในกระดูก
๗.๓.๕ ม่านตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดด
๗.๓.๖ มีอาการสั่น ชัก เกร็ง ไข้ขึ้นสูง ความดันโลหิตสูง
๗.๓.๗ เป็นตะคริว
๗.๓.๘ นอนไม่หลับ
๗.๓.๙ เพ้อ คลุ้มคลั่ง อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้
๘. การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย
การตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน
๘.๑ การตรวจขั้นต้น : ราคาถูก ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจสำเร็จรูป ความแม่นยำในการตรวจปานกลาง สดวกในการนำไปตรวจนอกสถานที่
๘.๒ การตรวจขั้นยืนยัน : เป็นการตรวจที่ให้ผลแม่นยำ แต่ใช้เวลาตรวจนาน ค่าใช้จ่ายสูง
๙. การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดำเนินงานเพื่อแก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไปดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งออกเป็น ๓ ระบบคือ
๙.๑ ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลต่าง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน
๙.๒ ระบบต้องโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดที่กระทำความผิดและถูกคุมขัง จะได้รับการบำบัดรักษา ในสถานพยาบาลที่กำหนดได้ตามกฎหมาย เช่น ทัณฑสถานบำบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย, สำนักงานคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรมหรือสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง กระทรวงยุติธรรม
๙.๓ ระบบบังคับบำบัด หมายถึง ผู้ที่ทางราชการตรวจพบว่ามีสารเสพติดในร่างกาย จะต้องถูกบังคับบำบัดตาม พ.ร.บ. ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ในสถานพยาบาลที่จัดขึ้นตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว เป็นระยะเวลา ๖ เดือน และขยายได้จนถึงไม่เกิน ๓ ปี ระบบนี้ยังไม่เปิดใช้ในขณะนี้ การบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด มี ๔ ขั้นตอน คือ
๙.๑ ขั้นเตรียมการก่อนบำบัดรักษา (Pre - admission) เพื่อศึกษาประวัติภูมิหลังของผู้ติดยาเสพติดทั้งจากผู้ขอรับการรักษา และครอบครัว
๙.๒ ขั้นถอนพิษยา (Detoxification) เป็นการบำบัดรักษาอาการทางกายที่เกิดจากการใช้ยาเสพติด โดยผู้ขอรับการรักษา สามารถเลือกใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก หรือผู้ป่วยใน ก็ได้ตามสดวก
๙.๓ ขั้นการฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) เป็นการบำบัดรักษาเพื่อปรับเปลี่ยน ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ พฤติกรรม เพื่อให้รู้จักตนเอง และมีความเข้มแข็งในจิตใจ เพื่อให้ผู้รับการบำบัดมีความเชื่อมั่นในการกลับไปดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ โดยไม่หวนกลับไปเสพซ้ำอีก
๙.๔ ขั้นติดตามดูแล (After - case) เป็นการติดตามดูแลผู้เลิกยาเสพติดที่ได้ผ่านการบำบัดครบทั้ง ๓ ขั้นตอนข้างต้นแล้ว เพื่อให้คำแนะนำ แก้ไขปัญหาและให้กำลังใจผู้เลิกยาเสพติด ให้ดำเนินชีวิตอย่างปกติสุขในสังคมได้ยิ่งขิ้น
๑๐. สถานบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
ผู้ติดยาเสพติด หรือ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สามารถขอรับการบำบัดรักษาได้ตามสถานพยาบาลต่าง ๆ ที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน ทั้งในเขตกรุงเทพมหานคร และส่วนภูมิภาค ดังต่อไปนี้
๑. ในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถใช้บริการได้ที่โรงพยาบาล และคลีนิกยาเสพติด ในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ได้แก่
โรงพยาบาล
๑.๑ โรงพยาบาลราชวิถี โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๐๐๕๒ ต่อ ๔๓๐๒
๑.๒ โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า โทร. ๐ - ๒๒๔๖ - ๑๔๐๐ ถึง ๑๔๒๘ ต่อ ๓๑๘๗
๑.๓ โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพฯ โทร. ๐ - ๒๔๑๑ - ๒๔๑๙๑
๑.๔ โรงพยาบาลนิติจิตเวช โทร ๐ - ๒๔๔๑ - ๙๐๒๖ - ๙
๑.๕ โรงพยาบาลตากสิน โทร. ๐ - ๒๘๖๓ - ๑๓๗๑ ถึง ๒, ๐ - ๒๔๓๗ - ๐๑๒๓ ต่อ ๑๑๕๓,๑๒๔๘
คลินิกยาเสพติดในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กทม.
๑.๖ คลินิกยาเสพติด ๑ ลุมพินี โทร. ๐ - ๒๒๕๐ - ๐๒๘๖
๑.๗ คลินิกยาเสพติด ๒ สี่พระยา โทร. ๐ - ๒๒๓๖ - ๔๑๗๔
๑.๘ คลินิกยาเสพติด ๓ บางอ้อ โทร. ๐ - ๒๔๒๔-๖๙๓๓
๑.๙ คลินิกยาเสพติด ๔ บางซื่อ โทร. ๐ - ๒๕๘๗ - ๐๘๗๓
๑.๑๐ คลินิกยาเสพติด ๕ ดินแดน โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๐๖๔๐
๑.๑๑ คลินิกยาเสพติด ๖ วัดธาตุทอง โทร. ๐ - ๒๓๙๑ - ๘๕๓๙
๑.๑๒ คลินิกยาเสพติด ๗ สาธุประดิษฐ์ โทร. ๐ - ๒๒๘๔ - ๓๒๔๔
๑.๑๓ คลินิกยาเสพติด ๘ ซอยอ่อนนุช โทร. ๐ - ๒๓๒๑ - ๒๕๖๖
๑.๑๔ คลินิกยาเสพติด ๙ บางขุนเทียน โทร. ๐ - ๒๔๖๘ - ๒๕๗๐
๑.๑๕ คลินิกยาเสพติด ๑๐ สโมสรวัฒนธรรม โทร. ๐ - ๒๒๘๑ - ๙๗๓๐
๑.๑๖ คลินิกยาเสพติด ๑๑ ลาดพร้าว โทร. ๐ - ๒๕๑๓ - ๒๕๐๙
๑.๑๗ คลินิกยาเสพติด ๑๒ วงศ์สว่าง โทร. ๐ - ๒๕๘๕ - ๑๖๗๒
๑.๑๘ คลินิกยาเสพติด ๑๓ ภาษีเจริญ โทร. ๐ - ๒๔๑๓ - ๒๔๓๕
๑.๑๙ คลินิกยาเสพติด ๑๔ คลองเตย โทร. ๐ - ๒๒๔๙ - ๑๘๕๒
๑.๒๐ คลินิกยาเสพติด ๑๕ วัดไผ่ตัน โทร. ๐ - ๒๒๗๐ - ๑๙๘๕
๒. ในส่วนภูมิภาค ได้แก่
โรงพยาบาล
๒.๑ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สายด่วนปรึกษาปัญหายาเสพติด โทร. ๐๒ - ๑๑๖๕ และ โทร. ๐ - ๒๕๓๑ - ๐๐๘๐ ถึง ๘
๒.๒ โรงพยาบาลประจำจังหวัดทุกจังหวัด ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
๒.๓ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ประจำภาคเหนือ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๙๗ - ๙๗๖ ถึง ๗
๒.๔ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ประจำภาคใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โทร. (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๕๓, (๐๗๔) ๔๖๗ - ๔๖๘
๒.๕ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดประจำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โทร. (๐๔๓) ๒๔๕ - ๓๖๖
๒.๖ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร. (๐๕๓) ๖๑๒ - ๖๐๗
๒.๗ ศูนย์บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จังหวัดปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โทร. (๐๗๓) ๓๓๓ - ๒๙๑
๓. สถานพยาบาลที่ดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
๓.๑ สถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด บ้านพิชิตใจ แขวงประเวศ กทม. โทร. ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๓๕๓, ๐ - ๒๓๒๙ - ๑๕๖๖
๓.๒ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด คอมมูนิต้า อินคอน - อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โทร. ๐ - ๒๕๖๓ - ๑๐๐๖ - ๗, ๐๑ - ๒๑๓๒๕๐๕ - อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โทร. ๐๑ - ๙๓๗ - ๑๓๔๕ - อำเภอท่าแร่ จังหวัดสกลนคร โทร.๐๑ - ๒๑๒๐๘๐๔
๓.๓ ศูนย์เกิดใหม่ (ชาย) อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี โทร. (๐๓๒) ๒๖๑๐๓๘ - ๔๐
๓.๔ ศูนย์เกิดใหม่ (หญิง) อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา โทร. (๐๓๘) ๕๔๑๖๙๓
๓.๕ บ้านสันติสุข อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โทร. ๐๑ - ๒๑๘๑๓๔๓
๓.๖ บ้านตะวันใหม่ อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ โทร. ๐๑ - ๒๑๐๑๕๗๓
๓.๗ บ้านนิมิตใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โทร. (๐๕๓) ๒๗๗๐๔๙, (๐๕๓) ๒๘๒๔๙๕
๑๑. วิธีการแจ้งข่าวสารยาเสพติด
การให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการแจ้งข้อมูลข่าวสารยาเสพติด เพื่อปราบปรามแหล่งผลิต แหล่งค้า แหล่งจำหน่าย และแหล่งมั่วสุมยาเสพติด เพื่อจับกุมผู้กระทำความผิดมาดำเนินการตามกฎหมายนั้น นับเป็นการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อทางราชการและประเทศชาติ แต่ขณะเดียวกัน การกระทำดังกล่าวควรปฏิบัติด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง เพื่อมิให้ถูกคุกคามจากอิทธิพลของผู้ถูกจับกุมด้วย ฉะนั้น เพื่อความปลอดภัย ผู้แจ้งข่าวสารสามารถเลือกปฏิบัติได้ ๒ วิธีคือ
๑. แจ้งข่าวสารโดยไม่เปิดเผยตนเอง กรณีนี้ ผู้แจ้งสามารถแจ้งข่าวสารต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ทุกสถานีทั่วประเทศ หรือแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ ปปส. โดยทำเป็นจดหมาย ไม่ต้องระบุชื่อผู้แจ้ง แต่ต้องให้รายละเอียดที่เป็นประโยชน์ในการสืบสวน ติดตาม กล่าวคือ ข้อมูลที่ให้ต้องครอบคลุมคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างชัดเจน
๒. แจ้งข่าวสารโดยแสดงตัวผู้แจ้ง โดยผู้แจ้งต้องมั่นใจได้ว่า ผู้รับแจ้งนั้นต้องสามารถเก็บความลับได้ และให้ความคุ้มครองแก่ผู้แจ้งได้ หากถูกคุกคามจากอิทธิพลของผู้ถูกจับกุม ทั้งนี้เพื่อขอความคุ้มครอง และแจ้งรายละเอียดของผู้ที่คุกคาม ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินการตามกฏหมายต่อไป
๑๒. สถานที่รับแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับยาเสพติด
ผู้แจ้งข่าวสาร สามารถติดต่อแจ้งข่าวยาเสพติด ได้ที่หน่วยงานต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
๑๒.๑ ศูนย์รับแจ้งข่าวยาเสพติด โทร.สายด่วน ๐๒ - ๑๖๘๘
๑๒.๒ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โทร. ๐ - ๒๒๕๑ - ๒๗๒๖ และ ๐ - ๒๒๕๒ - ๗๙๖๒
๑๒.๓ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ถนนดินแดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๔๑๔, ๐ - ๒๒๔๗๐๙๐๑ - ๑๙ ต่อ ๒๕๘ หรือโทรสาร ๐ - ๒๒๔๗ - ๗๒๑๗
๑๒.๔ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาคกลาง ถนนดินแดง เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๙๕๒, ๐ - ๒๒๔๕ - ๓๙๗๒ หรือ โทรสาร ๐ - ๒๒๔๕ - ๙๕๒
๑๒.๕ ตู้ ป.ณ.๑๒๓ สามเสนใน กทม. ๑๐๔๐๐
๑๒.๖ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ภาคเหนือ บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา อำเภอเมือง ฯ จังหวัดเชียงใหม่ ๒๐๑๘๐ โทร. (๐๕๓) ๒๑๑๗๙๓, (๐๕๓) ๒๑๒๐๒๘ หรือ โทรสาร (๐๕๓) ๒๑๑๘๐๘ และ (๐๕๓) ๒๑๑๗๘๐
๑๒.๗ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดภาคใต้ ๔๓๔ ถนนไทรบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โทร. (๐๗๔) ๓๑๒๐๘๘, (๐๗๔) ๓๒๓๓๐๐ หรือ โทรสาร (๐๗๔) ๓๒๑๕๑๔
๑๒.๘ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราบยาเสพติดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตรงข้ามที่ทำการป่าไม้เขต ถนนหน้าศูนย์ราชการ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐ โทร. (๐๔๓) ๒๔๑๐๒๙, (๐๔๓) ๓๔๔๔๒๐ หรือ โทรสาร (๐๔๓) ๒๔๖ - ๗๙๐
----------------------
9/1/53
ภาพวาดผู้หญิงที่เหมือนจริงที่สุด สวยโครตๆ
นักวาดภาพชื่อดัง Oscar Casares ได้วาดภาพนิโคล คิดแมน และส่งไปให้เธอ ซึ่งนิโคลก็ได้ตอบกลับไปถึงเขาว่า
"Oscar ที่รัก
ขอขอบคุณสำหรับภาพวาดที่งดงามที่คุณส่งมาให้ฉันที่บ้านในซิดนี่ย์
ฉันรู้สึกเป็นเกียรติมากที่คุณเลือกวาดฉัน และฉันอยากจะชื่นชมคุณมากที่
คุณส่งภาพวาดทั้งหมด(?) ไปให้ฉันถึงออสเตรเลีย
Best wishes,
Nicole Kidman"
ซึ่งภาพวาดนี้ Oscar Casares ผู้วาด บอกว่าได้เลือกวาดดาราหญิงที่
"most beautiful and recognized in the world"
นิโคลได้ลอยติดเพดานเพราะคำชมอีกแล้ว
แถมภาพมาดอนน่าจาก Oscar Casares เช่นกัน โดยภาพนี้เขาให้เหตุผลว่าเธอคึอ
"Most Successful Female Artist of All Time"
สลด! ดาราเด็ก ผูกคอตาย น้อยใจพ่อแม่
วงการบันเทิงอินเดียเกิดเรื่องน่าสลดใจ เมื่อ เนฮา ซาวานต์ ดาราเด็กหญิงวัย 11 ขวบ ซึ่งเคยปรากฏตัวในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางโทรทัศน์เมืองโรตีมาแล้วนั้น เกิดคิดสั้นปลิดชีพตัวเองด้วยการผูกคอตาย หลังจากที่พ่อแม่ของเธอบีบบังคับให้เลิกเรียนในโรงเรียนสอนการเต้นรำ ตามรายงานข่าวจาก ''มุมไบ มิร์เรอร์'' หนังสือพิมพ์ในเมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย เมื่อวันจันทร์ที่ 4 ม.ค. ที่ผ่านมา
เจ้าหน้าที่ตำรวจเมืองภารตะได้รับแจ้งให้ไปยังแฟลตแห่งหนึ่งทางชานเมืองฝั่งตะวันออกของมุมไบ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 ม.ค.ที่ผ่านมา หลังจากที่พบศพดาราเด็กคนดังกล่าวในสภาพแขวนคอด้วยผ้าพันคอภายในห้องที่ล็อกจากด้านใน
ร่างไร้วิญญาณของ เนฮา ซึ่งได้รับการยกย่องว่ามีพรสวรรค์ด้านการเต้นรำ และเคยไปแสดงออกจอโทรทัศน์มาแล้ว 3 รายการด้วยกันนั้น ถูกนำส่งโรงพยาบาลในเวลาต่อมา แต่ก็ไม่ทันการณ์ โดย สุพาช ดิเวการ์ เจ้าหน้าที่ตำรวจอาวุโส ซึ่งดูแลคดีนี้ เปิดเผยว่าไม่พบว่ามีหลักฐานการฆาตกรรมอำพราง เนื่องจากประตูถูกล็อกจากด้านใน
''มันเป็นคดีของการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน เรายังคงสอบสวนกันอยู่ว่าทำไมเธอถึงทำเรื่องที่ร้ายแรงขนาดนี้ขึ้นมาได้ เรายังไม่พบจดหมายลาตายจากที่เกิดเหตุแต่อย่างใด'' ตำรวจแดนโรตีคนดังกล่าวระบุ
ด้านพ่อของ เนฮา กล่าวว่า ตนกับภรรยาบอกให้ลูกสาวออกจากโรงเรียนสอนเต้นรำเมื่อหลายเดือนก่อน เนื่องจากเชื่อว่าการเรียนเต้นรำมีผลกระทบต่อการเรียนหนังสือของเธอ แต่เธอไม่เคยแสดงท่าทีว่าจะคิดสั้นแบบนี้มาก่อนเลย
รายการเรียลลิตี้โชว์ และการประกวดประชันความสามารถด้านต่างๆ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีและดาวเทียมกำลังเป็นที่นิยมอย่างสูงในอินเดีย ซึ่งเป็นการเจริญรอยตามความสำเร็จของรายการแนวนี้จากประเทศสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา
อย่างไรก็ตาม นักจิตวิทยาเตือนว่าการนำเด็กๆ มาออกทีวีจนกระทั่งกลายเป็นเป้าสนใจจากสาธารณชนเร็วเกินไป อาจจะมีผลกระทบในด้านลบเกี่ยวกับความสนุกสนานในวัยเยาว์ของเด็กๆ อันเป็นผลพวงตามมาจากเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างโหดร้ายทารุณของบรรดากรรมการหรือคอมเมนเตเตอร์ ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาสารพัด อาทิ ความมั่นอกมั่นใจในความสามารถของตัวเอง, ความกล้าแสดงออก และบุคลิกภาพของเด็ก ๆ ได้เลยทีเดียว
คณะกรรมาธิการปกป้องสิทธิเด็กของอินเดียเคยแสดงความกังวลเกี่ยวกับกรณีเด็กๆ ที่มาร่วมการแข่งขันในรายการต่าง ๆ มักจะต้องทำงานวันละมากกว่า 12 ชั่วโมงมาก่อนแล้ว พร้อมกับเรียกร้องให้รายการต่าง ๆ มีมาตรฐานการดูแลเด็ก ๆ ให้ดีกว่าที่เป็นอยู่นี้ รวมทั้งให้ปรับเปลี่ยนกฎกติกาด้วยการห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 16 ปีมาร่วมรายการ
ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
สยามดารา
Moi –Meme
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)